วันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การทดสอบ
อุปกรณ์บางชิ้นสำคัญจะต้องทำเผื่อไว้เป็นสองชิ้น เมื่ออุปกรณ์หนึ่งเสีย อุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่งจะต้องรับงานต่อไปได้อย่างอัตโนมัติ อนึ่งในการสร้างดาวเทียมทุกขั้นตอน เราจะต้องทำการคำนวณและวาดภาพออกแบบต่างๆโดยใช้คอมพิวเตอร์
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
อุณหภูมิ
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
วัสดุสำหรับก่อสร้างดาวทียม
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
รูปร่างและน้ำหนัก
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
การสร้างดาวเทียม
ผู้ออกแบบดาวเทียมจำเป็นต้องคำนึงถึงปัญหาต่างๆข้างต้น และจะต้องทำให้ชิ้นส่วนทุกชิ้นต่อกันจนเป็นดาวเทียมที่มีน้ำหนักและขนาดพอเหมาะ มีสมดุลพอดี ชี้หันไปในทางที่ถูก และมีการรักษาอุณหภูมิอย่างถูกต้อง
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
ดาวเทียมลุกไหม้
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
การถ่ายภาพดาวเทียม
1. ตั้งขากล้องให้อยู่นิ่งบนสามขาหรือพื้นที่มั่นคง
2. ตั้งหน้ากล้องที่ B ซึ่งจะทำให้หน้ากล้องเปิดอยู่ตลอดเวลา
3. หันกล้องไปในทิศที่เห็นดาวเทียมและเดหน้ากล้องไว้นานประมาณ 5 นาที
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
ข่าวของดาวเทียมที่จะมาปรากฏ
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
วิธีมองหาดาวเทียม
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ดาวเทียมปรากฏอย่างไร
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
การดูดาวเทียม
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
ดาวเทียมทหาร
ดาวเทียมทหารล้วนๆมักจะเป็นความลับของทุกประเทศ และบางทีดาวเทียมพลเรือนก็อาจมีการติดตั้งอุปกรณ์พิเศษเสริมเข้าไปเพื่อใช้งานทางทหาร
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
ดาวเทียมวิทยาศาสตร์
ดาวและกาแลกซี่ส่งรังสีออกมาหลายชนิด โดยเฉพาะเหตุการณ์รุนแรงต่างๆ เช่น การระเบิดของดาวจะส่งรังสีหลากหลายมาก อย่างไรก็ตาม ชั้นบรรยากาศของโลกจะกั้นรังสีส่วนใหญ่ไม่ให้ตกถึงพื้นดิน รังสีเหล่านี้จึงต้องตรวจจับและวัดโดยเครื่องมือดาวเทียม หรือสถานีอวกาศ
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
ดาวเทียมนำร่อง
แนฟสตาร์
สหรัฐกำลังสร้างและทดสอบระบบจีพีเอส (GPS = Global Positioning System) เพื่อใช้เป็นระบบนำร่องทั่วโลก ระบบนี้ใช้ดาวเทียมแนฟสตาร์ 18 ดวง ซึ่งกระจายอยู่ในวงโคจรรูปวงกลม 6 วง วงละ 3 ดวง วงโคจรทุกวงจะอยู่สูง 20,000 กม. จากพื้นโลก ซึ่งสูงพอที่จะรอดพ้นจากการทำลายของชาติศัตรู ระบบนี้สามารถจะใช้นำทางแก่กองทัพ หรือขีปนาวุธ ให้ไปถึงที่หมายได้ โดยที่ข้าศึกมิอาจส่งสัญญาณรบกวนอย่างเป็นผลได้
ดาวเทียมแนฟสตาร์ เป็นดาวเทียมขนาดใหญ่ที่มีความซับซ้อนมากประกอบด้วยชิ้นส่วนถึงกว่า 33,000 ชิ้น แนฟสตาร์แต่ละดวงจะมีนาฬิกาอะตอม 4 เรือน ซึ่งมีความผิดพลาดเพียง 1 วินาทีในเวลา 36,000 ปี ดาวเทียมจะส่งสัญญาณแจ้งตำแหน่งของตนและเวลาลงมายังโลกตลอดเวลา ผู้ที่อยู่บนโลกจะต้องมีอุปกรณ์ที่สามารถรับสัญญาณจากแนฟสตาร์ครั้งละ 4 ดวงพร้อมกัน จึงจะสามารถคำนวณหาตำแหน่งของยานพาหนะได้ ผลการคำนวณจะมีความผิดพลาดเพียง 15 ม. สำหรับเครื่องบิน เราก็อาจคำนวณได้ทั้งตำแหน่งในแนวราบและแนวสูง ส่วนความเร็วของยานพาหนะจะสามารถคำนวณหาได้โดยมีความผิดพลาดเพียง 0.1 ม./วินาที
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
ดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ
วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ดาวเทียมออกอากาศตรง
ในบางประเทศประชาชนอาจติดตั้งระบบรับสัญญาณจากดาวเทียมได้อย่างอิสระ แต่ในบางประเทศประชาชนจะต้องมีใบอนุญาตถึงจะติดตั้งสถานีภาคพื้นดินได้ อย่างไรก็ตามในอนาคตทุกประเทศคงเปิดเสรีมากขึ้น เพราะว่าระบบดาวเทียมจะแพร่หลายไปทั่วโลกโดยผ่านทางดาวเทียมออกอากาศตรง ที่ส่งสัญญาณด้วยกำลังสูง ทำให้สามารถใช้จานรับสัญญาณขนาดเล็กได้ ในปัจจุบันจะเห็นว่าจานรับสัญญาณดาวเทียมบนหลังคาบ้านต่างๆ เป็นภาพปกติที่เห็นได้ทั่วไปในหลายประเทศ
ที่มา : http://www.hackmun.8m.com/
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การตรวจเมฆโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
การตรวจทัศนวิสัย
คำว่า ทัศนวิสัย (visibility) หมายถึงระยะทางตามแนวนอนซึ่งผู้ตรวจอากาศสามารถมองเห็นวัตถุได้ชัด ทัศนวิสัยเป็นสิ่งสำคัญในการบินและการเดินเรือ สิ่งที่ทำให้ทัศนวิสัยไม่ดีหรือทัศนวิสัยเลว คือ หมอก เมฆ ฝน ฝุ่น และควัน การมีทัศนวิสัยเลวเป็นอันตรายแก่การบินและการเดินเรือ เพราะเครื่องบินอาจจะขึ้นลงทางวิ่งได้ยากหรืออาจจะชนกันก็ได้ หรือในบริเวณตามท่าเรือหรือตามช่องแคบ เรืออาจจะชนกันก็ได้ เพราะแต่ละฝ่ายต่างมองไม่เห็นกัน การตรวจทัศนวิสัยโดยมากใช้การสังเกตดูวัตถุหรือสิ่งปลูกสร้าง ซึ่งอาจเห็นได้ในระยะไกลๆ รอบๆบริเวณที่ทำการของผู้ตรวจ เช่น ตึกใหญ่ ยอดเจดีย์เสาธง ปล่องไฟ ฯลฯ เป็นเครื่องหมาย โดยเราทราบระยะทางไว้ก่อนจากแผนที่ จากนั้นเราก็ใช้เครื่องหมายเหล่านั้นในการคาดคะเนระยะของทัศนวิสัย นอกจากการตรวจด้วยสายตาแล้ว ยังมีเครื่องมือตรวจทัศนวิสัยด้วย ซึ่งเรียกว่า ทรานสมิสโซมิเตอร์ (transmissometer)
ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การตรวจอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
การตรวจอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
เรดาร์สำหรับตรวจอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การตรวจอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
การหยั่ง (ตรวจ) อากาศในทางตั้งโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ที่มา : http://guru.sanook.com/search/การตรวจอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การตรวจลมในระดับสูงโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
การหยั่ง (ตรวจ) อากาศในทางตั้ง นอกจากการตรวจอากาศตามผิวพื้นซึ่งอยู่ในระดับราบแล้ว นักอุตุนิยมวิทยายังต้องการทราบถึงความกด อุณหภูมิ ความชื้น ทิศและความเร็วของลมในระดับสูงๆ ด้วย เพราะว่าข้อมูลของสารประกอบอุตุนิยมวิทยาเหล่านี้ มีประโยชน์มากในการพยากรณ์อากาศ เช่นเดียวกับการสร้างบ้าน ตึก หรือ อาคารนอกจากจะดูแบบแปลนพื้นชั้นล่างแล้ว เราก็ต้อง การดูแบบแปลนชั้นบนๆ ด้วย เพื่อที่เราจะได้ทราบลักษณะของบ้านตึก หรืออาคารได้ดีขึ้น เครื่องมือสำหรับตรวจอากาศในระดับสูงๆเรียกว่า เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (radiosonde) เครื่องวิทยุหยั่งอากาศเป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ คล้ายกับเครื่องส่งคลื่นวิทยุ เครื่องส่งวิทยุนี้มีขนาดเล็กและมีแบตเตอรี่ บรรจุอยู่ด้วยเพื่อใช้เป็นพลังส่งคลื่นวิทยุ เมื่อเราใช้เครื่องวิทยุหยั่งอากาศผูกติดกับลูกโป่งขนาดใหญ่ ซึ่งบรรจุก๊าซไฮโดรเจนหรือก๊าซฮีเลียม ลูกโป่งก็จะพาเครื่องวิทยุหยั่งอากาศขึ้นไปยังระดับสูงๆแล้วเครื่องวิทยุหยั่งอากาศสามารถส่งคลื่นวิทยุขนาดต่างๆ มายังเครื่องรับที่พื้นดิน ซึ่งเครื่องรับที่พื้นดิน จะแปลความหมายของคลื่นต่างๆ ให้เป็นความกดอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ในระดับต่างๆ ได้ และเมื่อเราใช้เครื่องมือคอยจับทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกโป่งในระยะเวลาทุกๆ นาที ก็จะสามารถคำนวณหาทิศและความเร็วของลมในระดับต่างๆ ได้ด้วย ข้อมูลเหล่านี้เป็นประโยชน์ต่อการพยากรณ์ของอุตุนิยมวิทยาเป็นอันมาก
ที่มา : http://guru.sanook.com/search/
เครื่องมือสำหรับวัดความชื้นในบรรยากาศ
๑. ไซโครมิเตอร์แบบตุ้มแห้ง - ตุ้มเปียก(dry and wet bulb psychrometer) ซึ่งประกอบด้วยเทอร์มอมิเตอร์สองอัน อันหนึ่งเป็นเทอร์มอมิเตอร์ธรรมดาหรือเรียกว่า "ตุ้มแห้ง" อีกอันหนึ่งเป็นเทอร์มอมิเตอร์ซึ่งมีผ้ามัสลินหรือผ้าเปียกหุ้มที่ตุ้ม ซึ่งมีสายต่อไปยังถ้วยน้ำข้างใต้เรียกว่า "ตุ้มเปียก" เมื่อเปิดพัดลมลมจะพัดทำให้ระดับปรอทของตุ้มเปียกลดลงเนื่องจากการระเหยของน้ำ อุณหภูมิต่ำสุดที่ปรอทลดลงนี้เรียกว่า "อุณหภูมิตุ้มเปียก" (wet bulb temperature)จากค่าของอุณหภูมิตุ้มแห้ง และตุ้มเปียกนี้ สามารถคำนวณหาความชื้นสัมพัทธ์ของอากาศได้จากค่าในตารางซึ่งได้คำนวณไว้แล้ว
๒. ไฮโกรกราฟ (hygrograph) คือ เครื่องบันทึกค่าความชื้นของอากาศลงบนกระดาษกราฟ โดยใช้เส้นผมของมนุษย์หรือขนของสัตว์บางชนิด นำมาขึงให้ตึงและต่อกับคานกระเดื่องและแขนปากกา เส้นผมยืดและหดตัวตามการเปลี่ยนแปลงของความชื้นของบรรยากาศ คือ จะยืดตัวเมื่อความชื้นสัมพัทธ์มีค่าสูงขึ้น การยืดและหดของเส้นผมนี้จะทำให้คานกระเดื่อง และแขนปากกาเขียนเส้นบนกระดาษกราฟและแสดงตัวเลขของความชื้นของอากาศ เครื่องบันทึกที่สามารถบันทึกอุณหภูมิ ความกด และความชื้นสัมพัทธ์ ได้พร้อมกัน ๓ อย่างนี้เรียกว่า "บารอเทอร์มอ ไฮโกรกราฟ" (barothermo-hygrograph)
ที่มา : http://guru.sanook.com/search/
การวัดความชื้นในบรรยากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ความชื้นสัมพัทธ์ = ๑๐.๐๑๗.๓ x ๑๐๐ = ๕๘%
การวัดปริมาณน้ำฝนโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ที่มา : http://guru.sanook.com/search/
การตรวจอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
การวัดความเร็วและทิศทางของลม ลม คือการเคลื่อนไหวของอากาศ ถ้าลมแรงก็หมายถึงว่ามวลของอากาศเคลื่อนตัวไปมากและเร็วในอุตุนิยมวิทยา การวัดลมจำต้องวัดทั้งทิศของลมและอัตราหรือความเร็วของลม สำหรับการวัดทิศของลมนั้นเราใช้ศรลม (wind vane) ส่วนการวัดความเร็วของลม เราใช้เครื่องมือที่เรียกว่า "อะนีมอมิเตอร์"(anemometer) ซึ่งมีหลายชนิด แต่ส่วนมากใช้แบบใบพัดหรือกังหัน หรือใช้แบบถ้วยกลมสามใบและมีก้านสามก้านต่อมารวมกันที่แกนกลาง จากแกนกลางจะมีแกนต่อลงมายังเบื้องล่าง เมื่อกังหันหมุนจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะทำให้เข็มที่หน้าปัดชี้แสดงความเร็วของลมคล้ายๆ กับหน้าปัดที่บอกความเร็วของรถยนต์ การวัดความเร็วและทิศของลม อาจทำได้โดยใช้เครื่องมืออีกชนิดหนึ่งเรียกว่า "ใบพัดลม" ซึ่งสามารถวัดความเร็วและทิศได้พร้อมกัน ในการวัดความเร็วของลมมีหน่วยที่ใช้กันอยู่หลายหน่วย แล้วแต่ว่าผู้ใช้จะนิยมและสะดวกที่จะใช้หน่วยใด เช่น นอต หรือไมล์ทะเลต่อชั่วโมง กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไมล์ (บก) ต่อชั่วโมง นอกจากเครื่องวัดลมชนิดดังกล่าวแล้ว ยังมีเครื่องบันทึกความเร็วและทิศของลมอยู่ตลอดเวลาด้วย เครื่องบันทึกลมนี้เรียกว่า อะนีมอกราฟ (anemograph) ซึ่งสามารถบันทึกความเร็วและทิศของลมได้ตามที่เราต้องการ[กลับหัวข้อหลัก]
เครื่องวัดทิศทางและความเร็วของลมแบบใบพัด
มาตราลมโบฟอร์ต เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ พลเรือเอก เซอร์ ฟรานซิสโบฟอร์ต (Admiral Sir Francis Beaufort, ค.ศ. ๑๗๗๔-๑๘๕๗, ชาวอังกฤษ) แห่งราชนาวีอังกฤษได้พัฒนามาตราส่วนสำหรับคาดคะเนความเร็วของลมไว้ใช้ในการเดินเรือใบ เรียกว่า มาตราลมโบฟอร์ต (Beau-fort wind scale) ซึ่งเป็นที่นิยมใช้กันทั่วไป และแบ่งกำลังออกเป็น ๑๓ ชั้น คือ ตั้งแต่ ๐ ถึง ๑๒
การวัดอุณหภูมิของอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ตัวอย่าง ให้เปลี่ยน ๓๐ °ซ.เป็นองศาฟาเรนไฮต์
๙ ๕ (๓๐) + ๓๒ = ๕๔ + ๓๒
= ๘๖ °ฟ.
(๒) ๕ ๙ (...°ฟ.) - ๓๒ = .......°ซ.
ตัวอย่าง ให้เปลี่ยน ๕๙ °ฟ.เป็นองศาเซลเซียส
๕ ๙ (๕๙-๓๒) = ๕
๙ (๒๗) = ๑๕ °ซ.
การวัดความกดอากาศโดยดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
= ๗๖ ซม. x ๑๓.๖ กรัม/ซม.๓ x ๙๘๐.๔ ซม./วินาที๒
= ๑,๐๑๓,๓๔๑ ไดน์/ซม.๒
จากมาตรา ๑ บาร์ (bar) = ๑,๐๐๐,๐๐๐ ไดน์ต่อตารางเซนติเมตร
๑ บาร์ = ๑,๐๐๐ มิลลิบาร์
๑ มิลลิบาร์ = ๑,๐๐๐ ไดน์ต่อตารางเซนติเมตร
ฉะนั้น ความกดสูง ๗๖ เซนติเมตรของปรอท = ความสูงของปรอท ๒๙.๙๒ นิ้ว
= ๑,๐๑๓,๓๔๑ ไดน์ต่อ ๑ ตารางเซนติเมตร
= ๑๔.๗ ปอนด์ต่อ ๑ ตารางนิ้ว
= ๑,๐๑๓.๓ มิลลิบาร์
นอกจากบารอมิเตอร์ปรอทแล้ว นักวิทยาศาสตร์ยังใช้เครื่องวัดความกดอากาศอีกชนิดหนึ่งเรียกว่า"บารอมิเตอร์แบบแอนิรอยด์" (aneroid barometer)คำว่า "แอนิรอยด์" แปลว่าไม่เปียก (คือแห้ง) หลักของแอนิรอยด์บารอมิเตอร์ก็คือ การใช้กล่องโลหะ ซึ่งดูดอากาศออกเป็นบางส่วน เป็นเครื่องวัดความกดของอากาศ เมื่อความกดของอากาศเปลี่ยนแปลงก็จะทำให้กล่องโลหะนั้นขยายหรือหดตัว เราสามารถใช้คานต่อจากกล่องโลหะไปที่หน้าปัดเพื่อเป็นเครื่องแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศได้ ถ้าเรามีความประสงค์จะบันทึกการเปลี่ยนแปลงความกดของอากาศตลอดชั่วโมง ตลอดวัน หรือตลอดเดือน ก็สามารถทำได้ โดยใช้แขนปากกาต่อกับกล่องโลหะ ซึ่งถูกดูดอากาศออกเป็นบางส่วน แล้วใช้แผ่นบักทึก ความกดม้วนรอบกระบอก ซึ่งหมุนด้วยลานนาฬิกา เครื่องบันทึกความกดอากาศนี้เรียกว่า "บารอกราฟ" (barograph)
ตัวอย่างดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
ดาวเทียม NOAA (National Oceanographic and Atmospheric Administration) โคจรที่ระดับความสูงประมาณ 850 กม. ในวงโคจรแบบ สัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ ทำการถ่ายภาพด้วยระบบ AVHRR (Advanced Very High Resolution Radiometer) ในช่วงคลื่นที่ตามองเห็น 2 ช่วงคลื่น และช่วงคลื่นความร้อน 2 ช่วงคลื่น ได้แก่ 0.55 - 0.90 ไมโครเมตร, 0.725 - 1.0 ไมโครเมตร, 10.5 - 11.5 ไมโครเมตร และ 3.55 - 3.93 ไมโครเมตร นอกจากนี้ยังได้มีการเพิ่มช่วงคลื่นความร้อนช่วงที่ 3 เพื่อใช้ในการหาค่าอุณหภูมิพื้นผิว มีรายละเอียดของภาพ 1.1 กม. ในแนวดิ่ง ความกว้างของแนวภาพ 2,800 กม. บันทึกข้อมูลวันละ 2 ครั้ง ทั้งกลางวันและกลางคืน นอกจากนี้มีระบบ TOVS (TIROS Operational Vertical Sounder) ใช้ในการคำนวณค่าอุณหภูมิของชั้นบรรยากาศในแนวดิ่ง แยกได้เป็น 3 ระบบย่อย คือ 1. HIRS/2 ( High Resolution Infrared Radiometer )
2. SSU ( Stratospheric Sounding Unit)
3. MSU ( Microwave Sounding Unit )
ที่มา : http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/oraphin005/section2_p01.html
ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
วิธีการทำงาน เนื่องจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาเป็นดาวเทียมสำรวจประเภทหนึ่งจึงมีอุปกรณ์บนดาวเทียมคล้ายกับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร จะแตกต่างก็เพียงหน้าที่ การใช้งาน ดังนั้นดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาจึงมีหลักการทำงานเช่นเดียวกับดาวเทียมสำรวจทรัพยากร กล่าวคือ อุปกรณ์สำรวจอุตุนิยมวิทยาบนดาวเทียมจะส่ง สัญญาณมายังเครื่องรับที่สถานีภาคพื้นดิน ซึ่งที่สถานีภาคพื้นดินนี้จะมีระบบรับสัญญาณแตกต่างกันไปตามดาวเทียมแต่ละดวง
วิถีการโคจร ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาจะมีลักษณะการโคจรทั้งแบบสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์(Sun-Synchronous) ซึ่งเป็นวงโคจรในแนวเหนือ-ใต้ และผ่านแนวละติจูดหนึ่ง ๆ ที่เวลาท้องถิ่นเดียวกัน และแบบโคจรเป็นวงในแนวระนาบกับเส้นศูนย์สูตร หรือที่เรียกว่า "วงโคจรค้างฟ้า (Geostationary Orbit)" ซึ่งวงโคจรจะแตกต่างกันตามพื้นที่ ที่ครอบคลุมการใช้งาน
ประโยชน์ที่ได้รับ - ช่วยบรรเทาภัยพิบัติที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศ โดยสามารถเตือนให้ทราบถึงพายุต่างๆ
- พยากรณ์อากาศ และใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ทางอุตุนิยมวิทยา
- ตรวจอุณหภูมิเมฆ อุณหภูมิผิวหน้าทะเล อุณหภูมิผิวหน้าดิน และดัชนีพืช
ที่มา : http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Science/oraphin005/section2_p01.html
จีนทุ่ม สร้าง-ปล่อยดาวเทียมสื่อสาร ให้รบ.ลาว
สำนักข่าว ต่างประเทศรายงานเมื่อวันที่ 26 ก.ย. ว่า รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนเตรียมสร้างและปล่อยดาวเทียมสื่อสารให้กับรัฐบาล สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว)โดยดาวเทียมดังกล่าวชื่อ "ตงฟาง ฮง" หรือ "เพลิงตะวันออก" ใช้ขยายภาคการสื่อสารโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ตของประเทศ แต่ยังไม่เปิดเผยกำหนดวันปล่อยดาวเทียม ก่อนหน้านี้ เมื่อปี 2550 รัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนปล่อยดาวเทียมสื่อสารมูลค่า 257 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ให้กับรัฐบาลไนจีเรีย ตามด้วยการปล่อยดาวเทียมสื่อสารมูลค่า 241 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ให้กับรัฐบาลเวเนซูเอลาเมื่อปี 2551 ทั้งยังเตรียมปล่อยดาวเทียมสื่อสารให้กับโบลิเวียอีกภายใน 3 ปี