วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ภาพถ่ายดาวเทียม พายุเฮอริเคน Katrina วันที่ 29 สิงหาคม 2548

ที่มา : http://www.duangtawan.com/board/view.php?topic=202

ภาพถ่ายดาวเทียม พายุเฮอริเคน Katrina วันที่ 29 สิงหาคม 2548

ที่มา : http://www.duangtawan.com/board/view.php?topic=202

ภาพถ่ายดาวเทียม พายุเฮอริเคน Katrina วันที่ 29 สิงหาคม 2548

ที่มา : http://www.duangtawan.com/board/view.php?topic=202

ภาพถ่ายดาวเทียม พายุเฮอริเคน Katrina วันที่ 29 สิงหาคม 2548


ภาพถ่ายดาวเทียม พายุเฮอริเคน Katrina วันที่ 29 สิงหาคม 2548


วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

ภาพถ่ายดาวเทียมพายุ


ที่มา : http://images.google.co.th/imglanding?

ภาพถ่ายดาวเทียมพายุ


ที่มา : http://images.google.co.th/imglanding?

ภาพถ่ายดาวเทียม พายุ


ที่มา : http://images.google.co.th/imglanding?

ภาพถ่ายดาวเทียม พายุ


ที่มา : http://images.google.co.th/imglanding?

ภาพถ่ายดาวเทียมพายุ


ที่มา : http://images.google.co.th/imglanding?

ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดย CNN

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (168 ชั่วโมง)


ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (72 ชั่วโมง

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (24 ชั่วโมง)

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพถ่ายสภาพพายุจาก India Satellite (Weather Channel)

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพถ่ายสภาพพายุจาก East Asia Satellite (Weather Channel)

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

ภาพถ่ายสภาพพายุจาก Asia Satellite (Weather Channel)


ภาพถ่ายจากดาวเทียม GOES-9 IR1


ภาพถ่ายจากดาวเทียม GOES-9 IR

ที่มา : http://www.dwr.go.th/weblink/ThaiWeatherSat.html

วันจันทร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2553

ชุดจานดาวเทียม Dynasat Number 1 mini

ชุดจานดาวเทียมระบบ Digital C-Band Fix จาก Dynasat ตอบสนองความต้องการรับชมทีวีไทย แบบชัดใส โดยไม่ต้องจ่ายรายเดือน ได้เป็นอย่างดี ด้วย...
หน้าจานรับสัญญาณขนาดเพียง 5.5' แต่เกณฑ์การรับสัญญาณสูง
รับสัญญาณได้คมชัดกว่า 60 ช่องรายการ จากดาวเทียม Thaicom2/5
รับชมทีวี ชัดใส ทุกช่อง ทุกพื้นที่ เช่น ช่อง 3, 5, 7, 9, 11, ITV, TGN อื่นๆ
ไม่มีปัญหาการรับชม สัญญาณภาพไม่หายแม้ขณะฝนตก
เหมาะสำหรับการติดตั้ง เพื่อรับชมทีวีไทย สำหรับพื้นที่ ที่ตั้งเสาทีวีไม่ชัด
รองรับการเพิ่มจุดรับชม แบบแยกอิสระ โดยสัญญาณไม่ตก
อุปกรณ์มาตรฐาน
1. ชุดหน้าจาน C-Band 5.5' Fix Dynasat 1 ชุด
2. เครื่องรับดาวเทียม Dynasat รุ่น Number 1 mini
3. หัวรับสัญญาณ LNBF C-Band Dynasat 1 ตัว
4. เสาตั้งจาน ความสูง 1.0 เมตร + หมวกครอบ LNB
5. พร้อมเดินสายติดตั้ง 1 จุด ความยาวสายไม่เกิน 25 เมตร
6. กรณีมีการต่อเสา หรือดัดแปลงอุปกรณ์มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม 1,000 บาท, สายเมตรละ 25 บาท

http://www.forwardsat.com/IPM/IPM801KU-Band.html

จานดาวเทียม IPM 801 รุ่น DUO CKU ( Thaicom & NSS6 )

- เป็นชุดจานดาวเทียมที่มีหัวรับดาวเทียม 2 ดวง โดยใช้หน้าจานใบเดียว
- รับชมช่องรายการจากดาวเทียม Thaicom ในระบบ C-Band กว่า 80 ช่อง ฟรี!
- รับชมช่องรายการจากดาวเทียม NSS6 ในระบบ KU-Band อีกกว่า 40 ช่อง
- รายการที่รับชมได้รวมกว่า 120 ช่อง ดูได้ฟรี โดยไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน
- รับชม 20 ช่องดัง เอกสิทธิ์เฉพาะสมาชิก IPM ครบทุกความบันเทิง
- ทั้งภาพยนต์, สารคดี, การ์ตูน, ตลก, มิวสิค, และรายการบันเทิงมากมาย
- เครื่องมีฟังก์ชั่นพิเศษ รองรับการ Key Code เพื่อถอดรหัสเคเบิ้ลทีวีต่างประเทศ
- เพื่อชมการถ่ายทอดสด ฟุตบอลพรีเมียร ลีก จากประเทศเพื่อนบ้าน
- มีระบบข่าวสารส่งหน้าจอทีวี ทั้งข่าวการเมือง, บันเทิง, กีฬา , สังคม และ อื่นๆ
- มีระบบ Super OTA แก้ปัญหาช่องรายการหาย หรือการเปลี่ยนแปลงความถี่
- เมนชิพคุณภาพสูงของ สหรัฐอเมริกามีความเร็ว และไวต่อการใช้งาน.
- สามารถรับฟังสถานีวิทยุ ได้มากกว่า 20 สถานีดัง
- เครื่องรับ IPM 801 มีช่องต่อ RF Out รองรับการต่อ Remote Link
- รับประกันอุปกรณ์ติดตั้ง 1 ปีเต็ม ( บริการนอกสถานที่ฟรี ภายใน 3 เดือน)

http://www.forwardsat.com/IPM/IPM801KU-Band.html

แนะนำชุดจานดาวเทียม ขายดี

จานส้มไอพีเอ็ม (IPM 801 KU-Band )
เป็นชุดจานรับระบบ KU-Band ระบบขายขาด ซึ่งกำลังได้รับความนิยม ในปัจจุบับ รับชมช่องรายการผ่านด่าวเทียม NSS 6 หน้าจานขนาดเพียง 60 ซม. ดูฟรี กว่า 40 ช่อง โดยไม่ต้องจ่ายค่าบริการรายเดือน ซึ่งมีทั้งช่องรายการฟรีทีวีไทย ช่อง 3,5,7,9,NBT,TPBS รวมถึงช่องรายการข่าว เช่น Nation Channel,TNN24,ASTV,Peple Channel (เสื้อเหลือง-เสื้อแดง)และยังมีช่องรายการพิเศษ เฉพาะเครื่องรับ IPM อีกกว่า 20 ช่องให้ดูฟรี ซึ่งมีทั้งช่องภาพยนต์,สารคดี,การ์ตูน,กีฬา,บันเทิง,ตลก และอื่นๆ ครบครัน เหมือนติดเคเบิ้ลทีวี แต่ไม่มีค่าใช้จ่ายรายเดือน

ที่มา : http://www.forwardsat.com/IPM/IPM801KU-Band.html

แสดงภาพถ่ายดาวเทียม

ท่านสามารถกดดูภาพถ่ายดาวเทียมได้ (ใช้บริการของ Google Map) โดยให้กดตรงลิงค์ ภาพดาวเทียม บนเมนู bar มุมบนซ้าย, หน้าเว็บจะแสดงภาพถ่ายดาวเทียม ตำแหน่งจุดกลางเดียวกันกับภาพแผนที่ที่ท่านดูอยู่ก่อน


5. ข้อเสียในการตรวจหาไฟด้วยดาวเทียม

5.1 หากมีเมฆ การตรวจการณ์โดยวิธีนี้จะไม่ได้ผล เพราะคลื่นอินฟราเรดไม่สามารถทะลุทะลวงผ่านความชื้นได้
5.2 หากใช้ดาวเทียมที่ Low resolution การตรวจการณ์จะหยาบมากและไม่ทันการณ์ ในขณะที่การใช้ดาวเทียมที่ High resolution การตรวจการณ์จะละเอียดขึ้น แต่การจะกลับมาตรวจการณ์ในจุดเดิมแต่ละครั้งต้องใช้เวลาหลายวัน
5.3 การลงทุนติดตั้งระบบ ทั้ง Hardware และSoftwareในครั้งแรกต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงมาก
5.4 จะต้องมีการพัฒนาบุคลากรขึ้นมาเพื่องานนี้โดยเฉพาะ

ที่มา : http://www.dnp.go.th/forestfire/FIRESCIENCE/lesson%205/lesson5_5.htm

4. ข้อดีในการตรวจหาไฟด้วยดาวเทียม

4.1 สามารถตรวจหาไฟในพื้นที่อันกว้างใหญ่ไพศาลได้ในเวลาอันรวดเร็ว
4.2 หากใช้ดาวเทียมที่มีความละเอียดสูง (High resolution) ก็จะสามารถจัดระบบการเตือนภัยล่วงหน้า (Early warning system) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 หากใช้ดาวเทียม NOAA (Low resolution) จะสามารถตรวจการณ์พื้นที่ได้ถี่มาก และติดตามสถานการณ์และการพัฒนาของไฟขนาดใหญ่ได้อย่างต่อเนื่อง
4.4 ภายหลังการลงทุนครั้งแรกแล้ว ในระยะยาวเมื่อเทียบต่อหน่วยพื้นที่รับผิดชอบแล้ว จะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการตรวจหาไฟโดยวิธีอื่นๆ

ที่มา : http://www.dnp.go.th/forestfire/FIRESCIENCE/lesson%205/lesson5_5.htm

3. การตรวจหาไฟด้วยดาวเทียมอื่นๆ ที่มีความละเอียดกว่า

ได้มีความพยายามใช้ดาวเทียมอื่นๆ ที่มีความละเอียดในการตรวจหาไฟ (Higher resolution) มากกว่าดาวเทียม NOAA เช่น ดาวเทียม LANDSAT และดาวเทียม SPOT มาใช้ในการตรวจหาไฟ ทำให้สามารถตรวจพบไฟตั้งแต่ไฟนั้นยังมีขนาดเล็กอยู่ อย่างไรก็ตามดาวเทียมดังกล่าวจะมีข้อจำกัดในเรื่องรอบระยะเวลาของการโคจรรอบโลกที่ต้องใช้เวลานานหลายวัน หมายความว่าการจะกลับมาตรวจหาไฟ ณ ตำแหน่งเดิมในแต่ละครั้งจะต้องใช้เวลาหลายวัน
ที่มา : http://www.dnp.go.th/forestfire/FIRESCIENCE/lesson%205/lesson5_5.htm

2. การใช้ดาวเทียม NOAA ในการตรวจหาไฟ

ในปัจจุบันดาวเทียมที่นิยมใช้ในการตรวจหาไฟ ได้แก่ดาวเทียม GOES และดาวเทียมในตระกูล NOAA ซึ่งเป็นดาวเทียมทางอุตุนิยมวิทยาและการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ โดยดาวเทียม NOAA นี้จะโคจรรอบโลกที่ระดับความสูงประมาณ 850 กิโลเมตร และโคจรกลับมาที่จุดเดิมในทุกๆ 100 นาที ทำให้สามารถตรวจหาไฟในจุดเดิมได้ในทุกๆ 100 นาทีด้วยเช่นกัน โดยอุปกรณ์ตรวจวัดคลื่นรังสีความร้อนที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม NOAA ซึ่งเรียกว่า AVHRR นี้สามารถตรวจวัดพื้นที่ที่เล็กที่สุด (Pixel) ได้เท่ากับ 1.21 ตารางกิโลเมตร หมายความว่าพื้นที่ที่เกิดไฟป่าจะต้องมีเนื้อที่อย่างน้อยที่สุด 1.21 ตารางกิโลเมตร ดาวเทียม NOAA จึงจะสามารถตรวจพบไฟได้ ซึ่งในทางปฏิบัติหากปล่อยให้ไฟลุกลามจนมีขนาดใหญ่กินพื้นที่ถึง 1.21 ตารางกิโลเมตร จึงค่อยตรวจพบ จะเป็นการไม่ทันการณ์ เพราะจะเกิดความเสียหายต่อพื้นที่ป่าเป็นอย่างมาก การควบคุมไฟจะยากลำบาก กินเวลานาน และเสียค่าใช้จ่ายสูง อย่างไรก็ตามข้อมูลการตรวจหาไฟจากดาวเทียม NOAA จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการประเมินสถานการณ์และวางแผนควบคุมไฟป่าในภาพรวม
ในปัจจุบัน มีการใช้ดาวเทียม NOAA ในการตรวจหาไฟในหลายภูมิภาคของโลก (ภาพที่ 5.6) สำหรับในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ มีเพียงประเทศอินโดนีเซียประเทศเดียวที่มีการตรวจหาไฟด้วยระบบดังกล่าว ภายใต้ความช่วยเหลือจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น โครงการของ GTZ ที่ตรวจหาไฟในจังหวัดกาลิมันตันตะวันออก โครงการของ JICA และโครงการของ EU ที่ตรวจหาไฟในเกาะสุมาตรา เป็นต้น (Ueda, 1998)
ที่มา : http://www.dnp.go.th/forestfire/FIRESCIENCE/lesson%205/lesson5_5.htm

1.หลักการตรวจหาไฟด้วยดาวเทียม

หลักการตรวจหาไฟโดยใช้ดาวเทียม จะอาศัยอุปกรณ์การตรวจวัดคลื่นรังสีความร้อนที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม ( เช่น เครื่อง AVHRR, The Advanced Very High-Resolution Radiometer ที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม NOAA หรือเครื่อง VISSR, Visible and Infrared Spin Scan Radiometer ที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม HIMAWARI) ทำการตรวจการณ์บริเวณบนผิวโลกที่มีอุณหภูมิสูงกว่าปกติ (Hot spot) ซึ่งบริเวณดังกล่าวจะมีการแผ่รังสีความร้อน (Infrared, IR) ออกมามากกว่าปกติ Hot spot ที่ตรวจพบจึงเป็นบริเวณบนผิวโลกที่คาดว่ากำลังเกิดไฟป่า อย่างไรก็ตามหลังจากตรวจพบ Hot spot แล้วจะต้องผ่านกระบวนการพิสูจน์ทราบอีกครั้งหนึ่งเพื่อยืนยันว่า Hot spot นั้น เป็นบริเวณที่เกิดไฟป่าจริงๆ โดยตรวจสอบว่าพื้นที่ที่พบ Hot spotนั้น เป็นพื้นที่ป่าหรือไม่ หรือทำการตรวจสอบทางภาคพื้นดิน (Ground check)

ที่มา : http://www.dnp.go.th/forestfire/FIRESCIENCE/lesson%205/lesson5_5.htm

การตรวจหาไฟด้วยดาวเทียม



เทคโนโลยีการตรวจหาไฟจากระยะไกลโดยใช้อุปกรณ์การตรวจที่ติดตั้งอยู่บนดาวเทียม (Spaceborne remote sensing technology) เริ่มเข้ามามีบทบาทในการตรวจหาไฟเป็นอย่างมาก ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งนี้เนื่องจากสามารถตรวจการณ์พื้นที่ได้อย่างกว้างขวางทั่วประเทศ ทั่วภูมิภาค และทั่วโลก ได้พร้อมกันอย่างรวดเร็ว

ประโยชน์จากการใช้ดาวเทียม

การสื่อสารผ่านดาวเทียมนับว่าเป็นการสื่อสารที่ประหยัดกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการสื่อสารระบบอื่นๆ โดยที่ดาวเทียมหนึ่งดวงสามารถส่งสัญญาณครอบคลุมพื้นที่ของโลกได้มากถึง 40 % ของพื้นที่โลก ระบบการสื่อสารในปัจจุบันจึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะใช้สำหรับการสื่อสารกันระหว่างประเทศ การถ่ายทอดสดกีฬา ข่าวสารสดๆจากทั่วทุกมุมโลก หรือการนำเสนอข่าวสารการสู้รบแบบสดๆจากพื้นๆที่ๆเกิดเหตุ เราสามารถรับรู้เรื่องราวของโลกใบนี้ในเพียงแค่ไม่กีวินาที และ ยังใช้ได้กับระบบโทรศัพท์ วิทยุ ข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ท และอีกหลากหลายระบบที่สามารถใช้การสื่อสารด้วยระบบดาวเทียมได้




ระบบควบคุมดาวเทียม

ระบบดาวเทียมเองจะมีระบบเชื้อเพลิงใช้ในการควบคุมให้ดาวเทียมลอยอยู่ตรงตำแหน่ง โดยมีระบบสั่งการจากสถานีคววบคุมภาคพื้นดิน และหากว่าเมื่อไรเชื้อเพลิงที่ใช้ควบคุมตำแหน่งเกิดหมด หมายความว่าดาวเทียมดวงนั้นจะไม่อยู่ในการควบคุมจากสถานีภาคพื้นดินอีกต่อไป และจะถือว่าดาวเทียมดวงนั้นเสียใช้งานไม่ได้ อายุโดยประมาณของดาวเทียมจะมีอายุการใช้งานอยู่ที่ประมาณ 15 ปี



ที่มา : http://www.nics-sat.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=24244&Ntype=1

ดาวเทียมลอยอยู่บนท้องฟ้าได้อย่างไร


ดาวเทียมสื่อสารจะถูกยิงขึ้นไปเหนือเส้นศูนย์สูตร และส่งเข้าสู่วงโคจรในระดับความสูงที่เรียกความสูงจุดนี้ว่า Clarke Orbit หรือ( ตำแหน่งดาวเทียมค้างฟ้า ) โดยจะมีความสูงจากพื้นโลกโดยประมาณ 36,000.-38,000. กิโลเมตร ในตำแหน่งนี้เองจะทำให้ดาวเทียมลอยค้างฟ้าอยู่ได้ และดาวเทียมจะโคจรไปพร้อมๆกันกับโลกด้วยแรงดึงดูดของโลก และแรงดึงดูดจากนอกโลก ถ้าเปรียบเทียบกับการมองไปจากพื้นโลก เปรียบเสมือนกับว่าดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้านั้นลอยอยู่กับที่ครับ

ที่มา : http://www.nics-sat.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=24244&Ntype=1

สานต่อแนวคิด

สานต่อแนวคิด และต่อมาได้เริ่มมีการนำความคิดของ นายอาเธอร์ ซี. คลาค มาสานต่อและทำการทดลอง จนประสบความสำเร็จ ในที่สุด เราชาวโลกทั้งหลายจึงได้มีดาวเทียมใช้กันในปัจจุบัน อย่างนี้ต้องขอบคุณความเพ้อฝันของนาย อาเธอร์ ซี. คลาค นะครับ
ที่มา : http://www.nics-sat.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=24244&Ntype=1

โลกดาวเทียม


นวนิยายวิทยาศาสตร์ นวนิยายทางวิทยาศาสตร์ เรื่องหนึ่ง ที่เขียนขึ้นโดย นาย อาเธอร์ ซี. คลาค ที่ได้นำเสนอแนวคิด ในการใช้ดาวเทียมที่ไม่ใช่ดาวแท้ ให้เป็นเครื่องมือสื่อสารระหว่างคนในโลกใบนี้ โดยจะส่งดาวเทียมให้ลอยขึ้นไปอยู่บท้องฟ้าเสมือนหนึ่งว่าเป็นดาวดวงหนึ่ง เมื่อส่งดาวเทียมไปที่ความสูงในระดับหนึ่ง จะทำให้ดาวเทียมสามารถลอยอยู่บนท้องฟ้าได้โดยไม่ตกลงมาสู่พื้นโลก ซึ่งควาคิดนี้ไม่มีใครสนใจเท่าไรนักในสมัยนั้น เพราะถือว่าเป็นเรื่องที่ เพ้อฝันจนเกินไป